Tag Archives: เรียนภาษาจีนให้เก่ง

เรียนภาษาจีน : ตอนที่6 “ศัพท์ภาษาจีนคือลูกกุญแจไขสู่โลกภาษาจีน”

ศัพท์ภาษาจีน

สวัสดีครับเพื่อนทุกๆ ท่าน ผมขอคารวะครับ หลังจากผ่าน ตอนที่5 “ตะลุยยุทธภพ” ก็มาถึง ตอนที่ 6 ผมอยากจะบอกสาเหตุที่เนื้อหาในเว็บ pasajeen.com ทำไมมีศัพท์ภาษาจีนเป็นจำนวนมาก นั่นก็เพราะว่า “ศัพท์ภาษาจีนก็คือลูกกุญแจไขสู่โลกภาษาจีน”  นั่นเอง และเพื่อไม่ให้การออกเสียงนั้นผิดเพี้ยนไป เราจึงกำกับเสียงที่อ่านโดยใช้พินอินเป็นหลักครับ นอกจากนี้การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาจีน ก็ยังเป็นช่องทางที่ทำให้เราได้รู้จักคุ้นเคยกับอักษรจีนคำใหม่ๆ เพิ่มเติมอีกด้วย

  • เรา pasajeen.com จะพยายามรวบรวมคำศัพท์ภาษาจีนให้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำค้นหา และจะพยายามนำเสนอคำศัพท์ที่จำเป็นต่อการใช้งานให้ครอบคลุมให้ได้มากที่สุด
  • เรา pasajeen.com ต้องการให้ทุกคนที่สนใจเรียนภาษาจีน ได้เรียนรู้คำศํพท์ให้มากๆ เพื่อท่านจะได้ ฟังพูดอ่านเขียน ภาษาจีนจากต้นฉบับที่เป็นภาษาจีนให้ได้
  • ให้เราเรียนรู้โดยวิธีธรรมชาติ เหมือนกับสมัยที่เราเป็นเด็ก เรียนคำศัพท์ทีละคำ ฟังออกบ้างไม่ออกบ้าง จากนั้นก็เรียนร้อยเรียนเชื่อมคำศัพท์ต่างๆ เข้าหากันจนเป็นประโยค ทำให้อ่านเข้าใจ แล้วได้ยินได้ฟังบ่อยๆ ก็จะพูดได้เขียนได้เอง

หากท่านมีคำศัพท์กลุ่มใดที่อยากให้เราจัดหามาให้ ก็โพสเข้ามาได้เลยครับไม่ต้องเกรงใจ เราจะพยายามทำให้ดีที่สุด นอกจากนี้เรายังทำการปรับปรุงคำศัพท์ที่มีอยู่แล้วและเพิ่มเติมคำศัพท์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนๆ อ่านพบจุดใดความหมายผิดเพี้ยนไป ก็ขอคำชี้แนะและโพสแจ้งให้เราทราบด้วย จักขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง

และอย่างลืมติดตาม ศัพท์ภาษาจีน : เปิดโลกอักษรจีนเปิดโลกภาษาจีน ตอนที่1 [a-e] (ทั้งหมด 8 ตอน)

เรียนภาษาจีน : ตอนที่5 “ตะลุยยุทธภพ”

ตะลุยยุทธภพ

เรียนภาษาจีน : ตอนที่5 “ตะลุยยุทธภพ”

ต่อจาก ฉันจะคุยกับเธอ(อักษรจีน)ทุกวัน ตอนที่4 ก่อนที่เราจะออกเดินทางตะลุยยุทธภพ(บนโลกออนไลน์) กับเธอ(อักษรจีน) เราก็ต้องฝึกฝนศัพท์พื้นฐานให้มากๆ สร้างความคุ้นเคยกับเธอให้มากๆ ด้วยการ

  • ฟังมากๆ
  • อ่านมากๆ (พยายามอ่านออกเสียงให้ตัวเองได้ยิน)
  • พูดมากๆ
  • เขียนให้มากๆ
  • คิดถึงเธอ (อักษรจีน) ให้มากๆ
  • และที่สำคัญมากที่สุด ที่ขาดเสียมิได้ก็คือ “ความอดทนยืนหยัดในการเรียนรู้” ครับ ไม่มีเคล็ดลับอะไรมากไปกว่านี้อีกแล้ว ไม่ต้องไปหาว่า ทำอย่างไรถึงจะเก่งภาษาจีนอีกต่อไป

เราเชื่อว่าในไม่ช้า ภาษาจีนของคุณแข็งแรงขึ้นอย่างแน่นอน ยกเว้นแต่ คุณไม่ได้ตั้งใจพอ ไม่ได้รักจริงหวังแต่ง (อักษรจีน)  และสุดท้ายเราจะออกตะลุยยุทธภพได้ทุกที่ (บนโลกออนไลน์) อย่างไม่มีขอบเขต แสดงความยินดีด้วยครับ คุณทำได้ และทำได้ดีเสียด้วยซิ  …เดินไปด้วยกันกับเรา “เปิดโลกอักษรจีน เปิดโลกภาษาจีน กับ pasajeen.com” เราอยู่เคียงข้างคุณ

และอย่าลืมนำข้อมูลดีๆ มาแบ่งปันให้เพื่อนๆ ได้เรียนรู้ร่วมกันด้วยนะครับ

จังหวัดประเทศไทย 77 จังหวัด ภาษาจีน

ชื่อจังหวัด ภาษาไทย

府 [fǔ] ก็คือจังหวัด สำหรับจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย ภาษาจีนจะใช้การเลียงเสียงที่ใกล้เคียงเป็นหลัก อาจจะมีการเขียนต่างไปจากนี้  สิ่งที่อยากให้ทำคือ “จำอักษรจีนและคำอ่าน” ครับ เช่น 甘烹碧 [gān pēng bì] กำแพงเพชร  ให้จำตัวอักษรจีน เขียน และคำอ่าน 甘烹碧 [gān pēng bì] ให้ได้

泰国总共分为 77 个府治,行政管理上大致可以分为部分如下:

中部 (ภาคกลาง)        :  20 府

东部 (ภาคตะวันออก) :    6 府

北部 (ภาคเหนือ)        :  17 府

南部 (ภาคใต้)            : 14 府

东北 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคอีสาน) :      20 府

ชื่อจังหวัดภาษาไทย ชื่อจังหวัดภาษาอังกฤษ ชื่อจังหวัดภาษาจีน
1 กรุงเทพมหานคร Bangkok 曼谷 [màn gǔ]
2 กระบี่ Krabi 甲米 [jiǎ mǐ]
3 กาญจนบุรี Kanchana Buri 北碧 [běi bì]
4 กาฬสินธุ์ Kalasin 胶拉信 [jiāo lā xìn]
5 กำแพงเพชร Kamphaeng Phet 甘烹碧 [gān pēng bì]
6 ขอนแก่น Khon Kaen 孔敬 [kǒng jìng]
7 จันทบุรี Chantha Buri 尖竹汶 [jiān zhú wèn]
8 ฉะเชิงเทรา Cha Choeng Sao 北柳 [běi liǔ]
9 ชลบุรี Chon Buri 春武里 [chūn wǔ lǐ]
10 ชัยนาท Chai Nat 猜纳 [cāi nà]
11 ชัยภูมิ Chaiyaphum 猜也奔 [cāi yě bēn]
12 ชุมพร Chumphon 春蓬 [ chūn péng]
13 เชียงราย Chiang Rai 昌莱 [chāng lái]
14 เชียงใหม่ Chiang Mai 清迈 [qīng mài]
15 ตรัง Trang 董里 [dǒng lǐ]
16 ตราด Trat 哒叻 [dālè]
17 ตาก Tak 达 [dá]
18 นครนายก Nakhon Nayok 那空那育 [nà kōng nà yù]
19 นครปฐม Nakhon Pathom 佛统 [fó tǒng]
20 นครพนม Nakhon Phanom 那空帕农 [nà kōng pà nóng]
21 นคราชสีมา Nakhon Rajcha Sima 呵叻 [hē lè]
22 นครศรีธรรมราช Nakhon Sri Thamaraj 洛坤 [luò kūn]
23 นครสวรรค์ Nakhon Sawan 那空沙旺 [nà kōng shā wàng]
24 นนทบุรี Nontha Buri 暖武里 [nuǎn wǔ lǐ]
25 นราธิวาส Nara Thiwat 陶公 [táo gōng]
26 น่าน Nan 难 [nán]
27 บุรีรัมย์ Buri Ram 武里喃 [wǔ lǐ nán]
28 ปทุมธานี Pathum Thani 巴吞他尼 [bā tūn tā ní ]
29 ประจวบคีรีขันธ์ Prachuap Khiri Khan 巴蜀 [bā shǔ]
30 ปราจีนบุรี Prachin Buri 巴真武里, 巴真府 [bāzhēnwǔlǐ]
31 ปัตตานี Pattani 北大年 [běi dà nián ]
32 พระนครศรีอยุธยา Phra Nakhon Sri Ayutthaya 大城 [dà chéng ]
33 พะเยา Phayao 碧瑶 [bì yáo ]
34 พังงา Phang Nga 攀牙 [pān yá ]
35 พัทลุง Phatthalung 博他仑 [bó tā lún]
36 พิจิตร Phichit 披集 [pī jí ]
37 พิษณุโลก Phit Sanulok 彭世洛 [péng shì luò]
38 เพชรบุรี Phetcha Buri 佛丕 [fó pī]
39 เพชรบูรณ์ Phetchabun 碧差汶 [bì chā wèn ]
40 แพร่ Phrae 帕 [pà]
41 ภูเก็ต Phuket 普吉 pǔ jí
42 มหาสารคาม Maha Sarakham 吗哈沙拉堪 [ma hā shā lā kān]
43 มุกดาหาร Muk Dahan 莫拉限 [mò lā xiàn ]
44 แม่ฮ่องสอน Mae Hong Son 夜丰颂 [yè fēng sòng]
45 ยโสธร Ya Sothon 益梭通 [yì suō tōng ]
46 ยะลา Yala 也拉 [yělā]
47 ร้อยเอ็ด Roi Et 黎逸 [lí yì]
48 ระนอง Ranong 拉农 [lā nóng]
49 ระยอง Rayong 罗勇 [luó yǒng]
50 ราชบุรี Rajcha Buri 叻丕 [lè pī]
51 ลพบุรี Lop Buri 华富里 [huá fù lǐ]
52 ลำปาง Lampang 喃邦 [nán bāng]
53 ลำพูน Lamphun 喃奔 [nán bēn]
54 เลย Loei 黎 [lí]
55 ศรีสะเกษ Si Saket 四色菊 [sì sè jú]
56 สกลนคร Sakon Nakhon 沙功那空 [shā gōng nà kōng]
57 สงขลา Songkhla 宋卡 [sòng kǎ]
58 สตูล Satun 沙敦 [shā dūn]
59 สมุทรปราการ Samut Prakan 北榄 [běi lǎn]
60 สมุทรสงคราม Samut Songkhram 夜功 [yè gōng]
61 สมุทรสาคร Samut Sakhon 龙仔厝 [lóng zǐ cuò]
62 สระแก้ว Sra Kiao 萨缴 [sà jiǎo]
63 สระบุรี Sara Buri 北标 [běi biāo]
64 สิงห์บุรี Sing Buri 信武里 [xìn wǔ lǐ]
65 สุโขทัย SuKhothai 素可泰 [sù kě tài]
66 สุพรรณบุรี Suphan Buri 素攀 [sù pān]
67 สุราษฎร์ธานี Surat Thani 万仑 [wàn lún]
68 สุรินทร์ Surin 素辇 [sù niǎn]
69 หนองคาย Nongkai 廊开 [láng kāi]
70 หนองบัวลำภู Nong Bua Lumphu 廊磨南蒲 [láng mó nán pú]
71 อ่างทอง Ang Thong 红统 [hóng tǒng]
72 อำนาจเจริญ Amnat Charoen 庵纳乍能 [ān nà zhà néng]
73 อุดรธานี Udon Thani 乌隆 [wū lóng]
74 อุตรดิตถ์ Utta Radit 程逸 [chéng yì]
75 อุทัยธานี Uthai Thani 乌泰他尼 [wū tài tā ní]
76 อุบลราชธานี Ubon Rajchathani 乌汶 [wū wèn]
77 บึงกาฬ Buengkal Provice 汶干府 [wèngànfǔ]

ศัพท์ภาษาจีน : อวัยวะร่างกาย [身体的器官]

อวัยวะ ภาษาจีน
ส่วนหัวศรีษะ

  • 头 [tóu] ศรีษะ
  • 头发 [tóu fà] เส้นผม
  • 脑 [nǎo] สมอง
  • 头壳 [tóuké] หัวกะโหลก

ส่วนใบหน้า

  • 脸 [liǎn], 面容 [miànróng], 脸容หน้า,ใบหน้า
  • 面颊 [miànjiá] แก้ม
  • 太阳穴 [tàiyángxué] ขมับ
  • 眉毛 [méimáo] ขนคิ้ว
  • 下巴 [xiàbā] คาง
  • 酒窝 [jiǔwō] ลักยิ้ม
  • 胡子 [húzi] หนวดเครา
  • 胡须 [húxū] หนวดเครา
  • 脸,面 [liǎn,miàn] ใบหน้า
  • 前额 [qián é] หน้าผาก

ส่วนตา

  • 眼睛 [yǎnjīng] ตา
  • 眼睑 [yănjiăn] เปลือกตา
  • 眼球, 眼珠 [yǎnqiú, yǎnzhū] ลูกตา
  • 眼睑, 眼皮 [yǎnjiǎn,yǎnpí] หนังตา
  • 睫毛 [jiémáo] ขนตา
  • 视神经 [shìshénjīng] ประสาทตา
  • 视网膜 [shìwăngmó] จอประสาทตา
  • 角膜 [jiăomó] กระจกตา
  • 虹膜 [hóngmó] ม่านตา
  • 瞳孔 [tóngkŏng] รูม่านตา
  • 视力 [shìlì] สายตา
  • 近视 [jìnshì] สายตาสั้น
  • 远视 [yuănshì] สายตายาว
  • 散光 [sănguāng] สายตาเอียง
  • 镜 [yănjìng] แว่นตา
  • 隐形眼镜 [yĭnxíng yănjìng] คอนแทคเลนส์
  • 太阳镜 [tàiyángjìng] แว่นกันแดด
  • 架 [jìngjià] กรอบแว่น
  • 镜片 [jìngpiàn] เลนส์

ส่วนหู

  • 耳朵 [ěrduǒ] หู
  • 耳根 [ěrgēn] กกหู
  • 耳膜 [ěrmó] แก้วหู
  • 内耳 [nèi ěr] ช่องในหู
  • 耳垂 [ěrchuí] ติ่งหู
  • 耳郭 [ěrguō] ใบหู

ส่วนคอ

  • 脖子 [bózi] ลำคอ
  • 喉咙 [hóulóng] คอหอย
  • 脖根 [bógēn] ต้นคอ
  • 喉结 [hóujié] ลูกกระเดือก

ส่วนจมูก

  • 鼻子 [bízi] จมูก
  • 鼻毛 [bímáo] ขนจมูก
  • 鼻梁 [bíliáng] ดั้งจมูก
  • 鼻腔 [bíqiāng] โพรงจมูก
  • 鼻孔 [bíkǒng] รูจมูก

ส่วนปาก

  • 嘴 [zuǐ] ปาก
  • 口腔 [kǒuqiāng] ช่องปาก
  • 上腭 [shàng è] เพดานปาก
  • 牙,齿 [yá,chǐ] ฟัน
  • 臼齿 [jiùchǐ] ฟันกราม
  • 犬齿 [quǎnchǐ] ฟันเขี้ยว
  • 犬齿 [quǎnchǐ] ฟันน้ำนม
  • 门牙 [ményá] ฟันหน้า
  • 嘴角 [zuǐjiǎo] มุมปาก
  • 嘴唇 [zuǐchún] ริมฝีปาก
  • 牙根 [yágēn] รากฟัน
  • 齿龈 [chǐyín] เหงือก
  • 舍 [shě] ลิ้น

ส่วนแขน-มือ

  • 手心 [shǒuxīn] กลางฝ่ามือ อุ้งมือ
  • 拳 [quán] กำปั้น
  • 臂弯 [bìwān] ข้อพับ
  • 手腕 [shǒuwàn] ข้อมือ
  • 臂肘 [bìzhǒu] ข้อศอก
  • 手臂 [shǒubì] แขน
  • 上臂 [shàngbì] ต้นแขน
  • 中指 [zhōngzhǐ] นิ้วกลาง
  • 小指 [xiǎozhǐ] นิ้วก้อย
  • 食指 [shízhǐ] นิ้วชี้
  • 无名指 [wúmíngzhǐ] นิ้วนาง
  • 手指 [shǒuzhǐ] นิ้วมือ
  • 拇指 [mǔzhǐ] นิ้วหัวแม่มือ
  • 指尖 [zhǐjiān] ปลายนิ้ว
  • 手掌 [shǒuzhǎng] ฝ่ามือ
  • 手 [shǒu] มือ
  • 右手 [yòushǒu] มือขวา
  • 左手 [zuǒshǒu] มือซ้าย
  • 手纹 [shǒuwén] ลายมือ
  • 指甲 [zhǐjiǎ] เล็บมือ
  • 生命线 [shēngmìngxiàn] เส้นชีวิต
  • 智慧线 [zhìhuìxiàn] เส้นสมอง
  • 感情线 [gǎnqíngxiàn] เส้นหัวใจ
  • 手背 [shǒubèi] หลังมือ
ส่วนลำตัว

  • 腋毛 [yèmáo] ขนรักแร้
  • 乳房 [rǔfáng] ทรวงอก
  • 肛门 [gāngmén] ทวารหนัก
  • 肚子 [dùzi] ท้อง
  • 小肚子 [xiǎodùzi] ท้องน้อย
  • 肩膀 [jiānbǎng] บ่า
  • 腋窝 [yèwō] รักแร้
  • 背部 [bèibù] ส่วนหลัง
  • 肚脐 [dùqí] สะดือ
  • 臀部 [túnbù] สะโพก
  • 脊背 [jíbèi] สันหลัง
  • 胸部 [xiōngbù] หน้าอก
  • 乳头 [rǔ tóu] หัวนม
  • 肩头 [jiāntóu] หัวไหล่
  • 腰 [yāo] เอว

ส่่วนเท้า

  • 腿 [tuǐ] ขา
  • 大腿 [dàtuǐ] ขาอ่อน
  • 脚趾 [jiáozhǐ] นิ้วเท้า
  • 小腿 [xiaotui]น่อง
  • 脚跟 [jiáogēn]ส้นเท้า
  • 膝盖 [xīgài] หัวเข่า
  • 脚/ 足 [jiăo/zú] เท้า

ส่วนที่เป็นกระดูก

  • 骨头 [gǔtou] กระดูก(bone)
  • 颅骨 [lúgǔ] กะโหลกศีรษะ(skull)
  • 顶骨 [dǐnggǔ] กระดูกข้างขม่อม
  • 额骨 [égǔ] กระดูกหน้าผาก
  • 颧骨[quángǔ] กระดูกโหนกแก้ม(cheekbone)
  • 颞骨 [niègǔ] กระดูกขมับ(temporal bone)
  • 鼻骨 [bígǔ] กระดูกจมูก
  • 上颌骨 [shànghégǔ]  กระดูกขากรรไกรบน
  • 下颌骨 [xiàhégǔ]  กระดูกขากรรไกรล่าง
  • 颈椎 [jǐngzhuī] กระดูกคอ
  • 肋骨 [lèigǔ] กระดูกซี่โครง
  • 肋软骨 [lèiruǎngǔ] กระดูกซี่โครงอ่อน
  • 胸骨 [xiōnggǔ] กระดูกหน้าอก(breastbone)
  • 脊骨 [jǐgǔ] กระดูกสันหลัง(backbone)
  • 锁骨 [suógǔ] กระดูกไหปลาร้า(collarbone)
  • 肩胛骨 [jiānjiǎgǔ] กระดูกสะบัก(scapula)
  • 尺骨 [chǐgǔ]  กระดูกแขนท่อนล่าง
  • 桡骨 [ráogǔ] กระดูกแขนท่อนบน
  • 腕骨 [wàngǔ]  กระดูกข้อมือ
  • 掌骨 [zhǎnggǔ] กระดูกฝ่ามือ
  • 指骨 [zhǐgǔ]  กระดูกนิ้วมือ
  • 骶骨 [dǐgǔ] กระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ(sacrum)
  • 尾骨 [wéigǔ] กระดูกก้นกบ(tailbone)
  • 髋骨 [kuāngǔ] กระดูกตะโพก(hipbone)
  • 肱骨 [gōnggǔ] กระดูกต้นแขน
  • 骨节 [gǔjié] ข้อกระดูก
  • 髌骨 [bìngǔ] กระดูกสะบ้าหัวเข่า(kneecap)
  • 胫骨 [jìnggǔ] กระดูกหน้าแข้ง(shin bone)
  • 腓骨 [féigǔ] กระดูกน่อง(อยู่ท่อนหลังกระดูกหน้าแข้ง)
  • 跗骨 [fūgǔ] กระดูกข้อเท้าส่วนบน
  • 蹠骨 [zhígǔ] กระดูกฝ่าเท้า(metatarsal bones)
  • 趾骨 [zhígǔ] กระดูกนิ้วเท้า

ส่วนที่เป็นของเหลว

  • 淋巴 [línbā] น้ำเหลือง
  • 血液 [xuèyè] โลหิต

อวัยวะภายใน

  • 内脏 [nèizàng] เครื่องใน
  • 胰 [yí] ตับอ่อน

ส่วนอวัยวะภายในตันทั้ง 5(五脏 [wǔzàng] )

  • 肝 [gān] ตับ
  • 心 [xīn] หัวใจ
  • 脾 [pí] ม้าม
  • 肺 [fèi] ปอด
  • 肾 [shèn] ไต

อวัยวะกลวงทั้ง 6 (六腑 [liùfǔ] )

  • 胆 [dǎn] ถุงน้ำดี
  • 小肠 [xiǎocháng] ลำไส้เล็ก
  • 胃 [wèi] กระเพาะอาหาร
  • 大肠 [dàcháng] ลำไส้ใหญ่
  • 膀胱 [pángguāng] กระเพาะปัสสาวะ
  • 三焦 [sānjiāo] ซานเจียว

อวัยวะกลวงพิเศษทั้ง 6(奇恒之府)

  • 脑 [nǎo] สมอง
  • 髓 [suǐ] ไขสันหลัง
  • 骨 [gǔ] กระดูก
  • 脉 [mài] เส้นเลือด
  • 胆 [dǎn] ถุงน้ำดี
  • 女子胞 [nǚzǐbāo] มดลูก

 

ศัพท์ภาษาจีน : ผลไม้ (水果)

ผลไม้ 水果

ผลไม้ (水果) ต่างๆในภาษาจีน

สารบัญ :
ศัพท์ผลไม้ภาษาจีน
บทสนทานภาษาจีน

ศัพท์ผลไม้

  • 水果市场 [shuǐguǒ shìchǎng]  ตลาดผลไม้
  • 水果 [shuǐguǒ] ผลไม้
  • 瓜 [guā] แตง
  • 西瓜 [xīguā] แตงโม
  • 蛋焦 [dàn jiāo] กล้วยไข่
  • 粉焦 [fěn jiāo] กล้วยน้ำว้า
  • 香蕉 [xiāng jiāo] กล้วยหอม
  • 奇异果 [qíyìguǒ] กีวี
  • 猕猴桃 [míhóutáo]  กีวี่
  • 火龙果 [huǒ lóng guǒ] แก้วมังกร
  • 波罗蜜 [bō luó mì] ขนุน
  • 红毛丹 [hóng máo dān] เงาะ
  • 樱桃 [yīng táo] เชอร์รี่
  • 甜瓜 [tián guā] แตงไทย
  • 西瓜 [xī guā] แตงโม
  • 石榴 [shí liú] ทับทิม
  • 榴莲 [liú lián] ทุเรียน
  • 番荔枝 [fān lì zhī] น้อยหน่า
  • 番石榴 [fān shí liú] ฝรั่ง
  • 红枣 [hóng zǎo] พุทราแดง
  • 酸豆,罗望子 [suān dòu, luó wàng zi] มะขาม
  • 柠檬 [níng méng] มะนาว
  • 椰子 [yé zi] มะพร้าว
  • 青椰 [qīng yé] มะพร้าวอ่อน
  • 杨桃 [yáng táo] มะเฟือง
  • 芒果 [máng guǒ] มะม่วง
  • 木瓜 [mù guā] มะละกอ

Continue reading

ไวยากรณ์จีน : ชนิดของคำในภาษาจีน (汉语词汇的分类)

การแยกชนิดของคำในภาษาจีน ก็เหมือนกับภาษาอื่นๆ คือ คำนาม, คำสรรพนาม, คำกริยา, คำคุณศัพท์, …

การที่เราสามารถแยกชนิดคำเป็น จะมีส่วนช่วยให้เราสามารถจัดเรียงคำในประโยคได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยกรณ์ และช่วยในเรื่องของการทำข้อสอบต่างๆ แม้ว่าเราจะแปลความหมายของประโยคนั้นไม่ออกก็ตาม เช่น การเติมคำ การเรียงประโยค เป็นต้น

ชนิดของคำในภาษาจีน

1. คำนาม (Noun) 名词 (míng cí) เช่น 飞机(เครื่องบิน), 汉语(ภาษาจีน)
2. คำสรรพนาม (Pronoun) 代词 (dài cí) เช่น 我, 你, 他
3. คำกริยา (Verb) 动词 (dòng cí) เช่น 吃, 想, 爱, 要求
4. คำกริยานุเคราะห์ 助动词 (zhù dòng cí) เช่น 会, 能, 可以, 应该, 得(děi), 要
5. คำคุณศัพท์ (Adjective) 形容词 (xíng róng cí) เช่น 好, 白(สีขาว), 快, 认真(จริงจัง)
6. คำบอกจำนวน (Number) 数词 (shù cí) เช่น 一, 二, 几
7. คำลักษณะนาม 量词 (liàng cí) เช่น 个(อัน), 对(คู่), 次(ครั้ง), 遍(รอบ)
8. คำวิเศษณ์ (Adverb) 副词 (fù cí) เช่น 不, 才, 一般, 全, 都, 只, 太, 可能, 正好
9. คำบุพบท (Preposition) 介词 (jiè cí) เช่น 从, 跟, 在, 对
10. คำสันธาน (Conjunction) 连词 (lián cí) เช่น 不但, 因为, 如果
11. คำเสริม 助词 (zhù cí) เช่น 的, 得, 地, 所, 了, 着, 过, 呢, 吧
12. คำอุทาน 叹词 (tàn cí) เช่น 阿(ā ประหลาดใจ ทึ่ง), 哎哟(āi yō อูย เจ็บปวด)
13. คำเลียนเสียง 象声词 (xiàng shēng cí) เช่น 哈哈(hā hā เสียงหัวเราะ), 咕咕(gū gū เสียงไก่นกร้อง หรือท้องร้อง)


1. คำนาม(Noun) 名词 (míngcí) เช่น 飞机(เครื่องบิน), 汉语(ภาษาจีน)

名词 míng cí หรือคำนาม นั่นเอง ลักษณะไม่แตกต่างจากภาษาไทยเลยครับ คือมีทั้งรูปธรรมและนามธรรม หน้าที่หลักของคำนามนั้นคือทำหน้าที่เป็นภาคแสดง และกรรม

ตัวอย่างของคำนาม

  • 同学 tóng xué นักเรียน
  • 老师 lǎo shī อาจารย์
  • 家 jiā บ้าน
  • 鸟 niǎo นก
  • 无情 wú qíng ความว่างเปล่า
  • 爱情 ài qíng ความรัก

2. คำสรรพนาม(Pronoun) 代词 (dàicí) เช่น 我, 你, 他

3. คำกริยา(Verb) 动词 (dòngcí) เช่น 吃, 想, 爱, 要求 ก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยเช่นกัน โดยมีลักษณะดังนี้

ทำหน้าที่เป็นภาคแสดง ในภาษาจีนนั้นรูปประโยคบอกเล่ามีลักษณะเหมือนภาษาไทย และภาษาอังกฤษ คือมีโครงสร้าง ประธาน-กริยา-กรรม (Subject-Verb-Object)

ตัวอย่างประโยค

  • 同学学习中文 tóngxué xuéxí zhōngwén นักเรียนเรียนภาษาจีน  --> ในที่นี้คำ 学习 xuéxí – เรียน เป็นคำกริยาครับ

ทำให้เป็นรูปปฏิเสธได้โดยใช้คำ 不 bù – ไม่ นำหน้า

  • 我不明白 wǒ bù míngbái – ผมไม่เข้าใจ -->ในที่นี้คำ 明白 míngbái – เข้าใจเป็นคำกริยา

ใช้ปัจจัย 了 le เพื่อทำให้เป็นรูปอดีตได้

  • 孩子起来了 háizǐ qǐlái le – เด็กน้อยตื่นแล้ว -->ในที่นี้คำ 起来 qǐlái – ตื่นนอน เป็นคำกริยา

โดยส่วนใหญ่สามารถมีกรรมตามหลัง

  • 我读课文 wǒ dú kè wén – ผมอ่านบทเรียน  -->ในที่นี้ำคำ 读 dú อ่าน เป็นคำกริยา

4. คำกริยาช่วย 助动词 (zhùdòngcí) เช่น 会, 能, 可以, 应该, 得(děi), 要  ใช้เพื่อขยายกริยาแท้หรือคุณศัพท์(ที่ทำหน้าที่เป็นภาคแสดง)ของประโยค

4.1 คำกริยาแสดงความเป็นไปได้

  • 能 néng   สามารถ
  • 能够 nénggòu สามารถ, อาจจะ
  • 会 huì สามารถ
  • 可以 kěyǐ สามารถ
  • 可能 kěnèng เป็นไปได้

ตัวอย่างประโยค

  • 我能写汉语文 wǒ néng xiě hàn yǔ wén ฉันเขียนคำจีนได้

ตัวอย่างประโยค

  • 他可能喜欢你 tā kě néng xǐhuan nǐ เขาอาจชอบเธอ

4.2 คำกริยาแสดงความจำเป็น

  • 应该 yīnggāi ควร
  • 应当 yīngdāng ควรจะ
  • 该 gāi ควร
  • 要 yào ต้อง

ตัวอย่างประโยค

  • 现在, 你应该走吃饭了xiànzài, nǐ yīnggāi zǒu chī fàn lē ตอนนี้เธอน่าจะไปกินข้าวได้แล้วนะ

4.3 คำกริยาแสดงความแน่ใจหรือบังคับ ด้วยเหตุผล

  • 必须 bìxu จำเป็นต้อง
  • 得 děi  จะต้อง

ตัวอย่างประโยค

  • 我必须回家了 wǒ bǐxu huí jiǎ le ฉันต้องกลับบ้านแล้วละ

4.4 คำกริยาแสดงความต้องการ

  • 要 yào
  • 想 xiǎng
  • 愿意 yuànyì
  • 敢 gǎn
  • 肯 kěn
  • 准 zhǔn

ตัวอย่างประโยค

  • 你要永远在我的心中 nǐ yào yǒngyuǎn zài wǒ dē xīn zhōng เธอจะสถิตอยู่กลางใจฉันตลอดกาล

--> กลุ่มคำกริยาช่วยที่กล่าวมาข้างต้นนี้มีคุณสมบัติที่เหมือนกันคือ

  1. สามารถใช้ 不 bù วางไว้ข้างหน้าเพื่อทำให้เป็นรูปปฏิเสธได้ เช่น 我不能够用它 wǒ bù nénggōu yòng tā ผมใช้มันไม่เป็น
  2. ใช้รูปประโยค บอกเล่า-ปฏิเสธ เพื่อใช้เป็นประโยคคำถามได้ เช่น 你要不要走? nǐ yào bù yào zǒu เธอจะไปหรือไม่?
  3. ใช้คำเหล่านี้ตอบคำถามข้อ 2 ได้โดยไม่ต้องพูดประโยคเต็ม เช่น 你要不要走? nǐ yào bù yào zǒu ; 要 yào เธอจะไปหรือไม่ไป? ไปสิ
  4. ไม่สามารถใช้คำปัจจัย 了, 着, 过 ขยายคำกริยาวิเศษเหล่านี้ได้
  5. ไม่สามารถซ้ำคำได้
  6. ไม่สามารถมีคำนามตามหลังได้(ถ้ากลุ่มคำเหล่านี้ปรากฎอยู่ในลักษณะดังกล่าว คำคำนั้นไม่ใช่คำกริยาช่วย)
  7. สามารถใช้ร่วมกันหลายๆ คำในประโยคเดียวได้เช่น 我可能要走你家

อย่างไรก็ดีคำกริยาช่วยแต่ละคำก็มีจุดที่แตกต่างกันอยู่บ้าง ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยค โดยรายละเอียดดังกล่าว ผมจะค่อยนำมาเล่าให้ฟังกันนะครับ

5. คำคุณศัพท์ (Adjective) 形容词 (xíngróngcí) เช่น 好, 白(สีขาว), 快, 认真(จริงจัง)

คำคุณศัพท์ (形容词) ก็คือ คำที่ใช้แสดงคุณลักษณะของสิ่งที่กล่าวถึงนั้น ว่ามีลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างไร เช่น ใหญ่ เล็ก ขาว สูง อ่อนแอ แข็งแรง เรียบร้อย นุ่ม สวย ดี เหงา ง่าย ยาก ซับซ้อน ฯลฯ วิธีสังเกตุคำคุณศัพท์อย่างง่ายๆก็คือ จะเป็นคำที่มีความหมายแบบจับต้องไม่ได้

คำคุณศัพท์บางคำฟังดูแล้วจะมีความหมายคล้ายๆคำกริยา (คล้ายๆกับกริยานั้นมองไม่เห็น) ซึ่งการจะแยกว่าคำอะไรเป็นคำประเภทไหนคิดว่าตรงนี้ไม่ใช่ประเด็นสำคัญ เพราะธรรมชาติของทุกภาษา เวลาเราพูด (ยกตัวอย่างภาษาไทยเราเอง) เรายังไม่มานั่งนึกเลยใช่ไหมครับว่า คำไหนเป็นคุณศัพท์ คำไหนเป็นกริยา เวลาที่เราพูดออกไป แต่ที่สำคัญก็คือเราต้องหัดอ่านและหัดแปลเยอะๆครับ แล้วจำเป็นรูปๆประโยคๆไป จากนั้นเราจะแยกออกเองว่าคำนี้ควรวางตำแหน่งไหน และเป็นคำอะไร

สำหรับ 形容词 ให้ดูว่าคำไหนสามารถใส่ 很 ข้างหน้าได้ สามารถเข้าใจโดยปริยายเลยครับว่า คำนั้นคือ 形容词 เช่น 早 สามารถเติม 很ข้างหน้าได้ คือ 很早 ดังนั้น 早เป็นคำคุณศัพท์ครับ คำว่า 对 สามารถเขียนเป็น 很对 ได้เหมือนกัน แต่ค่อนข้างจะเป็นภาษาพูด (口语)แต่ 很 ก็ไม่สามารถตัดสินได้ว่าคำนั้นๆเป็นคำคุณศัพท์ได้ร้อยเปอร์เซนต์ เพราะปัจจุบันนี้คนจีนเองก็เอาคำว่า 很 ไปใช้อธิบายคำนามได้เหมือนกัน เช่น 很中国 หมายถึง จีนมากๆ classical ,很男人 หมายถึง สุภาพบุรุษมากๆ ผู้ช๊ายผู้ชาย วิธีที่ดีที่สุดที่จะเข้าใจความหมายของมันคือ ใช้ความรู้สึกครับ 很中国,很男人,很女人,很爸爸,很妈妈 ปัจจุบันนี้คนจีนพูดกันครับ แต่ไม่ถูกตามหลักไวยกรณ์นะครับ ใช้ได้ในภาษาพูด ทำให้ฝ่ายตรงข้ามมองเห็นภาพได้ชัดขึ้นครับ

6. คำบอกจำนวน (Number) 数词 (shùcí) เช่น 一, 二, 几

7. คำลักษณะนาม 量词 (liàngcí)เช่น 个(อัน), 对(คู่), 次(ครั้ง), 遍(รอบ) …อ่านคำลักษณะนามเพิ่มเติม

8. คำวิเศษณ์ (Adverb) 副词 (fùcí) เช่น 不, 才, 一般, 全, 都, 只, 太, 可能, 正好

คำวิเศษณ์ (副词) ก็คือคำที่ต้องวางอยู่ระหว่างภาคประธานและภาคแสดงในประโยคเสมอ เพื่อช่วยบอกขอบเขตของภาคแสดง (ที่ต่อภาคประธาน) ว่าควรจะเป็นไปอย่างไร เช่น

  • 我们都是好朋友。 -->我们(ภาคประธาน)都(คำวิเศษณ์)是好朋友(ภาคแสดง)
  • 不认真看书的那些学生果然不会有好成绩。 -->不认真看书的那些学生(ภาคประธาน,ประธานคือ 那些学生) 果然(คำวิเศษณ์) 不会有好成绩 (ภาคแสดง)

คำวิเศษณ์นี้จะพบได้น้อยว่าคำคุณศัพท์ แล้วก็จะจำได้ง่ายกว่า สังเกตุได้ง่ายๆว่าคำวิเศษณ์จะอยู่ต้นๆของประโยค อันนี้ก็เช่นกันต้องหัดอ่านหัดแปลบ่อยๆ จะทำให้เราได้คำศัพท์ด้วย แล้วก็รูปประโยคด้วย โดยไม่ต้องไปเคร่งครัดกับไวยากรณ์มาก

คำวิเศษณ์ที่แสดงน้ำหนักหรืออารมณ์ของประโยคที่พบบ่อยได้แก่:

  • 可… สักนิด  --> 我可不愿意跟你一起去。ฉันไม่ยอมไปกับคุณแน่
  • 幸亏โชคดีที่… --> 我幸亏没有真的爱上你。โชคดีที่ฉันไม่ได้หลงรักคุณเข้าจริงๆ
  • 难道 นี่…เลยเรอะ? --> 难道你没有爱过我吗?นี่คุณไม่เคยรักผมเลยหรือ?
  • 究竟/到底… กันแน่? --> 你究竟爱谁? คุณรักใครกันแน่?
  • 偏偏 ฝืนจะ…ให้ได้ --> 为什么你偏偏不爱我?ทำไมคุณ ฝืน/ดื้อดึง ที่จะไม่รักผม?
  • 反正 ยังไงซะ… --> 我反正不爱你,你放弃吧。ยังไงซะฉันก็ไม่รักคุณ คุณปล่อยวางเถอะ
  • 简直 แทบจะ… --> 我简直无法相信。 ผมแทบไม่อยากจะเชื่อเลย
  • 差点儿 เกือบจะ… --> 我差点儿爱上你了,可是我没有。ฉันเกือบรักคุณเข้าแล้ว แต่ฉันเปล่า
  • 几乎 เกือบจะ --> 我几乎疯了。ผมแทบจะบ้าตาย
  • 果然… จริงๆด้วย --> 你果然骗我。คุณหลอกผมจริงๆด้วย
  • 明明… ชัดๆ --> 你明明是个魔鬼!我却爱上了你! คุณนี่มันมารร้ายชัดๆ แต่ผมกลับหลงรักคุณ

* 反正 幸亏 果然 难道 สามารถใช้ขึ้นต้นประโยคได้(วางไว้ด้านหน้าของประธาน เช่น

  • 我幸亏没有真的爱上你。 เป็น幸亏我没有真的爱上你。
  • 我反正不爱你。 เป็น 反正我不爱你

คำวิเศษณ์ที่ใช้แสดงสถานการณ์หรือสภาพของการกระทำที่มักพบเห็นบ่อยมีดังนี้:

  • 依然 ยังคง… --> 十年了,我依然想念着他。สิบปีแล้ว ฉันยังคงคิดถึงเขาอยู่
  • 仍然 ยังคง… --> 我抛弃了他,他自然恨我。ฉันทอดทิ้งเขา เขาย่อมเกลียดฉันอยู่แล้ว
  • 自然… แน่อยู่แล้ว --> 我抛弃了他, 他自然恨我。 ฉันทอดทิ้งเขา เขาย่อมเกลียดฉันอยู่แล้ว
  • 显然… อย่างเห็นได้ชัด --> 他显然还在生气。เห็นได้ชัดว่าเขายังโกรธฉันอยู่
  • 亲自… ด้วยตนเอง --> 这次我该亲自去跟他解释。คราวนี้ฉันควรจะไปอธิบายกับเขาด้วยตัวเอง
  • 互相… ซึ่งกัน -->  希望我们能互相原谅。หวังว่าเราสามารถให้อภัยซึ่งกันและกัน
  • 特地… โดยเฉพาะ -->我特地为他织了一件毛衣。ฉันทักเสื้อไหมพรมตัวหนึ่งเพื่อเขาโดยเฉพาะ
  • 专门… โดยเฉพาะ
  • 存心/故意จงใจ --> 他知道我不是存心伤害他的。เขารู้ว่าฉันไม่ได้ตั้งใจทำร้ายเขา

*** อ้างอิงจากคัมภีร์เตรียมสอบจีน ฉบับตงฟางอี้

9. คำบุพบท(Preposition) 介词 (jiècí)เช่น 从, 跟, 在, 对

10. คำสันธาน(Conjunction) 连词 (liáncí) เช่น 不但, 因为, 如果

11. คำเสริม 助词(zhùcí)เช่น 的, 得, 地, 所, 了, 着, 过, 呢, 吧

12. คำอุทาน 叹词 (tàncí) เช่น 阿(ā ประหลาดใจ ทึ่ง), 哎哟(āi yō อูย เจ็บปวด)

13. คำเลียนเสียง 象声词 (xiàngshēngcí) เช่น 哈哈(hā hā เสียงหัวเราะ), 咕咕(gū gū เสียงไก่นกร้อง หรือท้องร้อง)

อ้างอิงข้อมูลจาก : https://enjoychinese.net/, https://www.oknation.net/blog/pranithan/2010/01/31/entry-1

ตารางหมวดนำตัวอักษรจีน [汉字部首名称表]

รากศัพท์ ภาษาจีน

หมวดนำตัวอักษรจีน หรืออักษรข้าง จะเป็นส่วนที่บ่งบอกว่าอักษรจีนตัวนั้นมีความเกี่ยวข้องกับอะไร ถ้าเราเข้าใจและจำได้ จะช่วยให้การจำอักษรจีนเป็นไปอย่างง่ายดายครับ

อักษรข้าง-偏旁 ชื่อเรียก-名称 ตัวอย่าง-例字
两点水儿 liǎngdiǎnshuǐr สองจุดน้ำ--> หมายถึงน้ำแข็ง 次、冷、准
秃宝盖儿 tūbǎogàir --> ส่วนคลุมด้านบน 写、军、冠
言字旁儿 yánzìpángr -->เกี่ยวกับการพูด 计、论、识
偏厂儿 piānchǎngr --> หน้าผากำบัง 厅、历、厚
匡栏儿 sānkuānglánr 三匡儿 sānkuāngr --> พื้นที่ 区、匠、匣
立刀旁儿 lìdāopángr 立刀儿 lìdāor -->เกี่ยวกับสิ่งมีคม 列、别、剑
同字匡儿 tóngzìkuāngr --> กรอบถง 冈、网、周
单人旁儿 dānrénpángr 单立人儿 dānlìrénr -->เกี่ยวกับคน 仁、位、你
包字头儿 bāozìtóur --> เกี่ยวกับการห่อหุ้ม 勺、勾、旬
私字儿 sīzìr --> ภาพลักษณ์งอแขน 允、去、矣
建之旁儿 jìànzhīpángr --> เดินทอดเท้า 廷、延、建
单耳旁儿 dān’ěrpángr 单耳刀儿 dān’ěrdāor --> อักษรข้างหูเดี่ยว 卫、印、却
双耳旁儿 shuāng’ěrpángr 双耳刀儿 shuāng’ěrdāor
左耳刀儿 zuǒ’ěrdāor 在左 右耳刀儿 yòu’ěrdāor 在右 --> อักษรข้างหูคู่
防、阻、院
邦、那、郊
三点水儿 sāndiǎnshuǐr --> สามจุดน้ำ เกี่ยวข้องกับน้ำ 江、汪、活
丬 爿 将字旁儿 jiàngzìpángr --> อักษรข้างเจี้ยง 壮、状、将
竖心旁儿 shùxīnpángr 竖心儿 shùxīnr --> อักษรข้างใจ 怀、快、性
宝盖儿 bǎogàir --> เกี่ยวกับหลังคา 宇、定、宾
广 广字旁儿 guǎngzìpángr --> โรงเรือน 庄、店、席
走之儿 zǒuzhīr --> เกี่ยวกับการเดินทาง 过、还、送
提土旁儿 títǔpángr 剔土旁儿 títǔpángr --> เกี่ยวกับดิน 地、场、城
草字头儿 cǎozìtóur 草头儿 cǎotóur --> เกี่ยวกับหญ้า 艾、花、英
弄字底儿 nòngzìdǐr --> ภาพลักษณ์สองมือ 开、弁、异
尤字旁儿 yōuzìpángr --> อักษรโหยว 尤、龙、尥
提手旁儿 tíshǒupángr 剔手旁儿 tīshǒupángr --> เกี่ยวกับมือ 扛、担、摘
方匡儿 fāngkuàngr --> กรอบสี่เหลี่ยม 因、国、图
双人旁儿 shuāngrénpángr 双立人儿 shuānglìrénr --> ภาพลักษณ์คนสองคน 行、征、徒
三撇儿 sānpiěr --> เกี่ยวกับร่มเงา หรือหนวดเครา 形、参、须
折文儿 zhéwénr --> หมวดอักษรเจอ 冬、处、夏
反犬旁儿 fǎnquǎnpángr 犬犹儿 quǎnyóur -->อักษรข้างสัตว์ 狂、独、狠
食字旁儿 shízìpángr --> เกี่ยวกับอาหาร 饮、饲、饰
子字旁儿 zǐzìpángr --> เกี่ยวกับเด็ก 孔、孙、孩
绞丝旁儿 jiǎosīpángr 乱绞丝儿 luànjiǎosīr --> เกี่ยวกับสิ่งทอ 红、约、纯
三拐儿 sānguǎir --> หมวดอักษรซาน 甾、邕、巢
四点儿 sìdiǎnr --> เกี่ยวกับไฟ 杰、点、热
火字旁儿 huǒzìpángr --> อักษรข้างของไฟ 灯、灿、烛
示字旁儿 shìzìpángr 示补儿 shìbǔr --> เกี่ยวกับโต๊ะหมู่บูชา 礼、社、祖
王字旁儿 wángzìpángr 斜玉旁儿 xiéyùpángr --> เกี่ยวกับกษัตริย์ 玩、珍、班
木字旁儿 mùzìpángr --> เกี่ยวกับไม้ 朴、杜、栋
牛字旁儿 niúzìpángr 剔牛儿 tìniúr --> เกี่ยวกับสัตว์ 牡、物、牲
反文旁儿 fǎnwénpángr 反文儿 fǎnwénr --> เกี่ยวกับการเฆี่ยนตี 收、政、教
病字旁儿 bìngzìpángr 病旁儿 bìngpángr --> เกี่ยวกับการเจ็บป่วย 症、疼、痕
衣字旁儿 yīzìpángr 衣补儿 yībǔr --> เกี่ยวกับเสื้อผ้า 初、袖、被
春字头儿 chūnzìtóur --> อักษรหัวชุน 奉、奏、秦
四字头儿 sìzìtóur --> หมวดอักษรซื่อ 罗、罢、罪
皿字底儿 mǐnzìdǐr 皿墩儿 mǐndūnr --> เกี่ยวกับเลือด 盂、益、盔
金字旁儿 jīnzìpángr --> อักษรข้างทองหรือโลหะ 钢、钦、铃
禾木旁儿 hémùpángr --> อักษรข้างต้นข้าว 和、秋、种
登字头儿 dēngzìtóur --> หมวดอักษรเติง 癸、登、凳
米字旁儿 mǐzìpángr --> เกี่ยวกับข้าว 粉、料、粮
虎字头儿 hǔzìtóur --> อักษรหัวเสือ 虏、虑、虚
竹字头儿 zhúzìtóur --> เกี่ยวกับต้นไผ่ 笑、笔、笛
足字旁儿 zúzìpángr --> อักษรข้าง เกี่ยวกับใช้เท้าเดิน 跃、距、蹄

อ่านต่อ เรียนภาษาจีนจากรากศัพท์

อักษรภาษาจีน 中文字

อักษรจีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สำหรับการใช้รูปอักษรจีนในภาษาอื่นๆ ดูที่ 漢字

อักษรจีนเป็นอักษรระบบอักษรภาพชนิดหนึ่ง ใช้แทนความหมายของคำ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซ่ง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต่า

พ.ศ. 2442 หวัง ยิรง (Wang Yirong) นักวิชาการจากปักกิ่ง พบสัญลักษณ์คล้ายอักษรบนกระดูกมังกรที่เขาได้รับจากเภสัชกร ในเวลานั้น กระดูกมังกรซึ่งมักเป็นซากฟอสซิลของสัตว์ ยังใช้ในการแพทย์แผนจีน กระดูกสัตว์เหล่านั้นพบมาก ในซากปรักหักพังของเมืองหลวงในสมัยราชวงศ์ซัง ทางเหนือของมณฑลเหอหนาน

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม อักษรจีน – วิกิพีเดีย

หนังสือจีน “กฎของลูกศิษย์ 弟子规” ( Students’ Rules)

กฎของศิษย์ ภาษาจีน (弟子规)

《弟子规》การตีความ “กฎของลูกศิษย์” 读诵解释1-7

弟子规 [di zi gui] นี้เดิมชื่อว่า “คำสอนผู้เยาว์” 训蒙文 [xùn mēng wén] ประพันธ์ขึ้นโดยท่าน 李毓秀 [lǐ yù xiù] ในสมัยราชวงศ์ชิง (ค.ศ.1644 – 1911) ต่อมานำมาเรียบเรียงรวมกับ 童蒙须知 [tóng mēng xū zhī] “ข้อควรรู้ของผู้เยาว์” ของท่านจูซี แห่งราชวงศ์ซ่ง โดยผ่านการแก้ไขเรียบเรียงใหม่โดยปราชญ์แห่งราชวงศ์ชิง ท่าน 贾存仁 [jiǎ cún rén] และเปลี่ยนชื่อหนังสือเป็น 弟子规 [di zi gui] “กฏของผู้เป็นลูกศิษย์” มาตรฐานที่เป็นนักศึกษาที่ดี

弟子规 [di zi gui] นี้ เป็นกาพย์กลอนที่ให้เด็กๆท่องจำในสมัยโบราณ เพื่อให้เด็กๆเรียนรู้ภาษาจีน วัฒนธรรม และ ปลูกฝังความกตัญญู อุปนิสัยที่ดี พื้นฐานที่เป็นคนดีและแนวทางในการมีชีวิตสอดคล้องกลมกลืนกับ ผู้อื่น ปลูกฝังหลักการดำรงชีวิตตามหลักของขงจื้อ (儒学 – rú xué)

(ตี้จื่อกุย) เน้นหลักคุณธรรมพื้นฐานที่ควรรู้และควรบ่มเพาะ ซึ่งใช้อักษรสามตัวในหนึ่งวรรค มีสัมผัสทางภาษาที่งดงาม เหมาะที่จะศึกษาเรียนรู้ทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็กๆและเยาวชนทั้งหลายซึ่งคุณธรรมเหล่านี้กำลังจางหายไปจากสังคม ไทยไป มากขึ้นทุกที หากผู้ใดนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตตนเอง อย่างน้อยตนเองย่อมมีคุณค่า ครอบครัวสงบสุข มีความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงานและชีวิตของตน

弟子规 [di zi gui] ได้แบ่งออกเป็น 7 หมวดใหญ่ๆดังนี้

  1. 入则孝 [rù zé xiào] กตัญญู
  2. 出则梯 [chū zé tī]  พี่น้องปรองดอง
  3. 谨 [jǐn] สำรวมระวัง
  4. 信 [xìn] ถือสัจจะ
  5. 泛爱众 [fàn ài zhòng] รักใคร่มวลชน
  6. 亲仁 [qīn rén]  เข้าใกล้ผู้มีคุณธรรม
  7. 余力学文 [yú lì xué wén] มีกำลังเหลือศึกษาหาความรู้
ตี้จื่อกุย เป็นคำสอนของนักปราชญ์ขงจื่อ และปราชญ์ท่านอื่นๆ
ก่อนอื่นให้กตัญญูเชื่อฟังต่อบิดามารดา ครูอาจารย์ นักปราชญ์ เคารพพี่ๆ
และรองลงมาคือ ประพฤติตนให้อยู่ในกรอบระเบียบอย่างเคร่งครัด
ทำตนให้เป็นที่น่าเชื่อถือของผู้อื่น มีมิตรภาพ
รักและห่วงใยผู้อื่น และใกล้ชิดกับผู้มีคุณธรรม
นอกจากนี้ให้หาโอกาสศึกษาวัฒนธรรม และแสวงหาความรู้ต่างๆ
https://youtu.be/0sJp3upw7xI
《弟子規》总叙 [zǒng xù]

弟子规 圣人训 首孝弟 次谨信
[dì zǐ guī shèng rén xùn shǒu xiào tì cì jǐn xìn]

泛爱众 而亲仁 有余力 则学文
[fàn ài zhòng ér qīn rén yǒu yú lì zé xué wén]

1.入则孝 [rù zé xiào] กตัญญู

父母呼 应勿缓 父母命 行勿懒 [fù mǔ hū yìng wù huǎn fù mǔ mìng xíng wù lǎn]

父母教 须敬听 父母责 须顺承 [fù mǔ jiào xū jìng tīng fù mǔ zé xū shùn chéng]

冬则温 夏则清 晨则省 昏则定 [dōngzéwēn xiàzéqìng chénzéxǐng hūnzédìng]

出必告 反必面 居有常 业无变 [chū bì gào fǎn bì miàn jū yǒu cháng yè wú biàn]

事虽小 勿擅为 苟擅为 子道亏 [shì suī xiǎo wù shàn wéi gǒu shàn wéi zǐ dào kuī]

物虽小 勿私藏 苟私藏 亲心伤 [wù suī xiǎo wù sī cáng gǒu sī cáng qīn xīn shāng]

亲所好 力为具 亲所恶 谨为去 [qīn suǒ hǎo lì wéi jù qīn suǒ è jǐn wéi qù]

身有伤 贻亲忧 德有伤 贻亲羞 [shēn yǒu shāng yí qīn yōu dé yǒu shāng yí qīn xiū]

亲爱我 孝何难 亲憎我 孝方贤 [qīn ài wǒ xiào hé nán qīn zēng wǒ xiào fāng xián]

亲有过 谏使更 怡吾色 柔吾声 [qīn yǒu guò jiàn shǐ gèng yí wú sè róu wú shēng]

谏不入 悦复谏 号泣随 挞无怨 [jiàn bù rù yuè fù jiàn hào qì suí tà wú yuàn]

亲有疾 药先尝 昼夜侍 不离床 [qīn yǒu jí yào xiān cháng zhòu yè shì bù lí chuáng]

丧三年 常悲咽 居处变 酒肉绝 [sàng sān nián cháng bēi yàn jū chǔ biàn jiǔ ròu jué]

丧尽礼 祭尽诚 事死者 如事生 [sàng jìn lǐ jì jìn chéng shì sǐ zhě rú shì shēng]

2. 出则梯 [chū zé tī] พี่น้องปรองดอง

兄道友 弟道恭 兄弟睦 孝在中 [xiōngdàoyǒu dìdàogōng xiōngdìmù xiàozàizhōng]

财物轻 怨何生 言语忍 忿自泯 [cáiwùqīng yuànhéshēng yányǔrěn fènzìmǐn]

或饮食 或坐走 长者先 幼者后 [huòyǐnshí huòzuòzǒu zhǎngzhěxiān yòuzhěhòu]

长呼人 即代叫 人不在 己即到 [zhǎnghūrén jídàijiào rénbùzài jǐjídào]

称尊长 勿呼名 对尊长 勿见能 [chēngzūnzhǎng wùhūmíng duìzūnzhǎng wùxiànnéng]

路遇长 疾趋揖 长无言 退恭立 [lùyùzhǎng jíqūyī zhǎngwúyán tuìgōnglì]

骑下马 乘下车 过犹待 百步余 [qíxiàmǎ chéngxiàjū guòyóudài bǎibùyú]

长者立 幼勿坐 长者坐 命乃坐 [zhǎngzhělì yòuwùzuò zhǎngzhězuò mìngnǎizuò]

尊长前 声要低 低不闻 却非宜 [zūnzhǎngqián shēngyàodī dībùwén quèfēiyí]

进必趋 退必迟 问起对 视勿移 [jìnbìqū tuìbìchí wènqǐduì shìwùyí]

事诸父 如事父 事诸兄 如事兄 [shìzhūfù rúshìfù shìzhūxiōng rúshìxiōng]

3. 谨 [jǐn] สำรวมระวัง

朝起早 夜眠迟 老易至 惜此时 [zhāoqǐzǎo yèmiánchí lǎoyìzhì xīcǐshí]

晨必盥 兼漱口 便溺回 辄净手 [chénbìguàn jiānshùkǒu biànniàohuí zhéjìngshǒu]

冠必正 纽必结 袜与履 俱紧切 [guānbìzhèng niǔbìjié wàyǔlǚ jùjǐnqiè]

置冠服 有定位 勿乱顿 致污秽 [zhìguānfú yǒudìngwèi wùluàndùn zhìwūhuì]

衣贵洁 不贵华 上循分 下称家 [yīguìjié búguìhuá shàngxúnfèn xiàchènjiā]

对饮食 勿拣择 食适可 勿过则 [duìyǐnshí wùjiǎnzé shíshìkě wùguòzé]

年方少 勿饮酒 饮酒醉 最为丑 [niánfāngshào wùyǐnjiǔ yǐnjiǔzuì zuìwéichǒu]

步从容 立端正 揖深圆 拜恭敬 [bùcōngróng lìduānzhèng yīshēnyuán bàigōngjìng]

勿践阈 勿跛倚 勿箕踞 勿摇髀 [wùjiànyù wùbǒyǐ wùjījù wùyáobì]

缓揭帘 勿有声 宽转弯 勿触棱 [huǎnjiēlián wùyǒushēng kuānzhuǎnwān wùchùléng]

执虚器 如执盈 入虚室 如有人 [zhíxūqì rúzhíyíng rùxūshì rúyǒurén]

事勿忙 忙多错 勿畏难 勿轻略 [shìwùmáng mángduōcuò wùwèinán wùqīnglüè]

斗闹场 绝勿近 邪僻事 绝勿问 [dòunàochǎng juéwùjìn xiépìshì juéwùwèn]

将入门 问孰存 将上堂 声必扬 [jiāngrùmén wènshúcúnjiāngshàngtáng shēngbìyáng]

人问谁 对以名 吾与我 不分明 [rénwènshuí duìyǐmíng wúyǔwǒ bùfēnmíng]

用人物 须明求 倘不问 即为偷 [yòngrénwù xūmíngqiú tǎngbùwèn jíwéitōu]

借人物 及时还 后有急 借不难 [jièrénwù jíshíhuán hòuyǒují jièbùnán]

4. 信 [xìn] ถือสัจจะ

凡出言 信为先 诈与妄 奚可焉 [fánchūyán xìnwéixiān zhàyǔwàng xīkěyān]

话说多 不如少 惟其是 勿佞巧 [huàshuōduō bùrúshǎo wéiqíshì wùnìngqiǎo]

奸巧语 秽污词 市井气 切戒之 [jiānqiǎoyǔ huìwūcí shìjǐngqì qièjièzhī]

见未真 勿轻言 知未的 勿轻传 [jiànwèizhēn wùqīngyán zhīwèidì wùqīngchuán]

事非宜 勿轻诺 苟轻诺 进退错 [shìfēiyí wùqīngnuò gǒuqīngnuò jìntuìcuò]

凡道字 重且舒 勿急疾 勿模糊 [fándàozì zhòngqiěshū wùjíjí wùmóhū]

彼说长 此说短 不关己 莫闲管 [bǐshuōcháng cǐshuōduǎn bùguānjǐ mòxiánguǎn]

见人善 即思齐 纵去远 以渐跻 [jiànrénshàn jísīqí zòngqùyuǎn yǐjiànjī]

见人恶 即内省 有则改 无加警 [jiànrénè jínèixǐng yǒuzégǎi wújiājǐng]

唯德学 唯才艺 不如人 当自砺 [wéidéxué wéicáiyì bùrúrén dāngzìlì]

若衣服 若饮食 不如人 勿生戚 [ruòyīfú ruòyǐnshí bùrúrén wùshēngqī]

闻过怒 闻誉乐 损友来 益友却 [wénguònù wényùlè sǔnyǒulái yìyǒuquè]

闻誉恐 闻过欣 直谅士 渐相亲 [wényùkǒng wénguòxīn zhíliàngshì jiànxiāngqīn]

无心非 名为错 有心非 名为恶 [wúxīnfēi míngwéicuò yǒuxīnfēi míngwéiè]

过能改 归于无 倘□饰 增一辜 [guònénggǎi guīyúwú tǎngyǎnshì zēngyìgū]

5. 泛爱众 [fàn ài zhòng] รักใคร่มวลชน

凡是人 皆须爱 天同覆 地同载 [fánshìrén jiēxūài tiāntóngfù dìtóngzài]

行高者 名自高 人所重 非貌高 [xìnggāozhě míngzìgāo rénsuǒzhòng fēimàogāo]

才大者 望自大 人所服 非言大 [cáidàzhě wàngzìdà rénsuǒfú fēiyándà]

己有能 勿自私 人所能 勿轻訾 [yǐyǒunéng wùzìsī rénsuǒnéng wùqīngzī]

勿谄富 勿骄贫 勿厌故 勿喜新 [wùchǎnfù wùjiāopín wùyàngù wùxǐxīn]

人不闲 勿事搅 人不安 勿话扰 [rénbùxián wùshìjiǎo rénbùān wùhuàrǎo]

人有短 切莫揭 人有私 切莫说 [rényǒuduǎn qièmòjiē rényǒusī qièmòshuō]

道人善 即是善 人知之 愈思勉 [dàorénshàn jíshìshàn rénzhīzhī yùsīmiǎn]

扬人恶 即是恶 疾之甚 祸且作 [yángrénè jìshìè jízhīshèn huòqiězuò]

善相劝 德皆建 过不规 道两亏 [shànxiāngquàn déjiējiàn guòbùguī dàoliǎngkuī]

凡取与 贵分晓 与宜多 取宜少 [fánqǔyǔ guìfēnxiǎo yǔyíduō qǔyíshǎo]

将加人 先问己 己不欲 即速已 [jiāngjiārén xiānwènjǐ jǐbúyù jísùyǐ]

恩欲报 怨欲忘 报怨短 报恩长 [ēnyùbào yuànyùwàng bàoyuànduǎn bàoēncháng]

待婢仆 身贵端 虽贵端 慈而宽 [dàibìpú shēnguìduān suīguìduān cíérkuān]

势服人 心不然 理服人 方无言 [shìfúrén xīnbùrán lǐfúrén fāngwúyán]

6. 亲仁 [qīn rén] เข้าใกล้ผู้มีคุณธรรม

同是人 类不齐 流俗众 仁者希 [tóngshìrén lèibùqí liúsúzhòng rénzhěxī]

果仁者 人多畏 言不讳 色不媚 [guǒrénzhě rénduōwèi yánbúhuì sèbúmèi]

能亲仁 无限好 德日进 过日少 [néngqīnrén wúxiànhǎo dérìjìn guòrìshǎo]

不亲仁 无限害 小人进 百事坏 [bùqīnrén wúxiànhài xiǎorénjìn bǎishìhuài]

7. 余力学文 [yú lì xué wén] มีกำลังเหลือศึกษาหาความรู้

不力行 但学文 长浮华 成何人 [búlìxíng dànxuéwén zhǎngfúhuá chénghérén]

但力行 不学文 任己见 昧理真 [dànlìxíng bùxuéwén rènjǐjiàn mèilǐzhēn]

读书法 有三到 心眼口 信皆要 [dúshūfǎ yǒusāndào xīnyǎnkǒu xìnjiēyào]

方读此 勿慕彼 此未终 彼勿起 [fāngdúcǐ wùmùbǐ cǐwèizhōng bǐwùqǐ]

宽为限 紧用功 工夫到 滞塞通 [kuānwéixiàn jǐnyònggōng gōngfūdào zhìsètōng]

心有疑 随札记 就人问 求确义 [xīnyǒuyí suízhájì jiùrénwèn qiúquèyì]

房室清 墙壁净 几案洁 笔砚正 [fángshìqīng qiángbìjìng jīànjié bǐyànzhèng]

墨磨偏 心不端 字不敬 心先病 [mòmópiān xīnbùduān zìbújìng xīnxiānbìng]

列典籍 有定处 读看毕 还原处 [lièdiǎnjí yǒudìngchù dúkànbì huányuánchù]

虽有急 卷束齐 有缺坏 就补之 [suīyǒují juànshùqí yǒuquēhuài jiùbǔzhī]

非圣书 屏勿视 蔽聪明 坏心志 [fēishèngshū bǐngwùshì bìcōngmíng huàixīnzhì]

勿自暴 勿自弃 圣与贤 可驯致 [wùzìbào wùzìqì shèngyǔxián kěxúnzhì]

อ้างอิงจาก https://www.oknation.net/blog/songlink/2009/10/28/entry-1

ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง

  • 叙 [xù] บรรยาย
  • 总 [zǒng] สรุป
  • 弟子 [dìzǐ] ลูกศิษย์, เด็ก
  • 规 [guī] กฎ
  • 训 [xùn] อบรมสั่งสอน
  • 则 [zé] แบบอย่าง
  • 首 [shǒu] อันดับแรก, ก่อนอื่น
  • 孝 [xiào] กตัญญูรู้คุณ, ซึ่งรับผิดชอบต่อหน้าที่,เชื่อฟัง,ซื่อสัตย์
  • 弟 [dì] น้องชาย
  • 次 [cì] ครั้ง, ลำดับที่
  • 信 [xìn] เชื่อ, ข่าวสาร
  • 圣人 [shèngrén] นักปราชญ์
  • 有余 [yǒuyú] มีเหลือ
  • 谨 [jǐn] ระมัดระวัง, ละเอียดรอบคอบ
  • 父母 [fùmǔ] พ่อแม่
  • 须 [xū] จะต้อง
  • 责 [zé] ตำหนิ
  • 顺 [shùn] คล้อยตาม
  • 承 [chéng] รับเอาไว้
  • 敬 [jìng] เคารพ
  • 清晨 [qīngchén] เช้าตรู่
  • 冬 [dōng] หนาว
  • 昏 [hūn] ค่ำ
  • 温 [wēn] อบอุ่น
  • 定 [dìng] แน่นอน
  • 居 [jū] ที่พัก
  • 虽 [suī] แม้
  • 擅 [shàn] โดยพลการ, ทำตามใจ
  • 苟 [gǒu] เรื่อยเปื่อย อะไรก็ได้
  • 亲爱 [qīn’ài] ที่รัก
  • 昼夜 [zhòuyè] ตลอดเวลา, กลางวันและกลางคืน
  • 死者 [sǐzhě] ผู้ตาย
  • 兄弟 [xiōngdì] พี่น้อง
  • 财物 [cáiwù] ทรัพย์สมบัติ
  • 言语 [yányu] ภาษา
  • 饮食 [yǐnshí] อาหารและเครื่องดื่ม
  • 长者 [zhǎngzhě] ผู้อาวุโส
  • 不在 [bùzài] ไม่อยู่
  • 尊长 [zūnzhǎng] ผู้อาวุโส
  • 下马 [xiàmǎ] ลงจากม้า
  • 下车 [xiàchē] ลงรถ
  • 此时 [cǐshí] ทันที
  • 漱口 [shùkǒu] บ้วนปาก
  • 净手 [jìngshǒu] ไปห้องน้ำ
  • 定位 [dìngwèi] อยู่กับที่
  • 污秽 [wūhuì] สกปรกไม่สะอาด
  • 饮酒 [yǐnjiǔ] ดื่มเหล้า
  • 最为 [zuìwéi] มากที่สุด
  • 从容 [cōngróng] สุขุม เยือกเย็น
  • 端正 [duānzhèng] ตั้งตรง, เป็นปกติ, ถูกต้อง,ปรับปรุงให้ถูกต้อง
  • 恭敬 [gōngjìng] เคารพ
  • 转弯 [zhuǎnwān] เลี้ยวโค้ง
  • 畏难 [wèinán] กลัวความยากลำบาก
  • 入门 [rùmén] เรียนรู้หลักวิชาเบื้องต้น
  • 分明 [fēnmíng] กระจ่างชัด
  • 用人 [yòngren] ใช้คน
  • 不问 [bùwèn] ละเลย
  • 人物 [rénwù] ลักษณะรูปร่าง
  • 及时 [jíshí] ทันเวลา
  • 不如 [bùrú] สู้ไม่ได้
  • 市井 [shìjǐng] ตลาด
  • 进退 [jìntuì] เดินหน้าถอยหลัง
  • 模糊 [móhu] เบลอ
  • 内省 [nèixǐng] การสำรวจและวิเคราะห์จิตใจของตน
  • 衣服 [yīfu] เสื้อผ้า
  • 益友 [yìyǒu] เพื่อนดี
  • 无心 [wúxīn] ไม่มีกะจิตกะใจ
  • 有心 [yǒuxīn] มีใจ
  • 归于 [guīyú] เป็นของ
  • 凡是 [fánshì] ทุกอย่าง, ทั้งหมด
  • 自大 [zìdà] อวดดี
  • 自私 [zìsī] เห็นแก่ตัว
  • 不安 [bù’ān] ไม่สงบสุข
  • 道人 [dàoren] เต้าหยิน, นักบวชในศาสนาเต๋า
  • 相劝 [xiāngquàn] ชักชวน, คำแนะนำ, ข้อคิดเห็น, ความเห็น
  • 何人 [hérén] ใคร
  • 读书 [dúshū] อ่านหนังสือ
  • 为限 [wéixiàn] จำกัด
  • 用功 [yònggōng] ขยัน
  • 工夫 [gōngfu] ทักษะ, แรงงาน, เวลา
  • 札记 [záhjì] บันทึกการอ่าน
  • 墙壁 [qiángbì] กำแพง
  • 不端 [bùduān] ไม่เหมาะสม, น่าอับอาย
  • 不敬 [bùjìng] ไม่เคารพ
  • 典籍 [diǎnjí] คัมภีร์โบราณ
  • 还原 [huányuán] กลับสู่สภาพเดิม
  • 聪明 [cōngmíng] ฉลาด

คัมภีร์ภาษาจีน สามอักษร 三字经

คัมภีร์สามอักษร ภาษาจีน

เสน่ห์ของ 三字经 อยู่ที่การท่องทีละ 3 คำ และแม้มีการแบ่งคำ แบ่ง 3 คำๆก็จริง ยังแยกเป็นคู่ๆ สังเกตุจากเครื่องหมายวรรคตอน

โดย 3 ตัวแรก อาจบอกสาเหตุ 3 ตัวหลังบอกผล

หรือ 3 ตัวแรก อาจบอกอะไรสักอย่าง 3 ตัวหลังขยายความ

คู่ ที่ 1    人之初,性本善。คู่ที่ 1

3 ตัวแรกบอกว่า กำเนิดของมนุษย์ หรือธรรมชาติดั้งเดิมของคน
3 ตัวหลังบอกว่า พื้นฐานจิตใจมีเมตตากรุณา

คู่ ที่ 2    性相近,习相远。

3 ตัวแรกบอกว่า จิตใจอารมณ์มนุษย์ทุกคนธรรมชาติให้มาใกล้เคียง
3 ตัวหลังบอกว่า การฝึกหัด (อาจดีหรือเลว อยู่ที่สิ่งแวดล้อม) ทำให้คนห่างไกลกัน

คนเราพื้นฐานล้วนคล้ายคลึงกันคือเป็นคนดี แต่สิ่งแวดล้อมที่ทำให้คนแตกต่างกัน

อันนี้เป็นความเชื่อ ที่นำไปสู่ทัศนคติ การอบรม ลัทธิต่างๆอีกมากมาย

บางระบบอย่างฝรั่ง มีทั้งที่เชื่อแบบนี้ กับพวกที่เชื่อว่าทุกคนเกิดมาเลว จึงต้องมีการศึกษา และศาสนา มาควบคุม ให้คนเป็นคนดึ

กับอีกพวก บอกว่า คนเราเกิดมาไม่ดีไม่ชั่ว

อักษรจีนสามอักษร
人之初,性本善。性相近,习相远。
苟不教,性乃迁。教之道,贵以专。
昔孟母,择邻处。子不学,断机杼。
窦燕山,有义方。教五子,名俱扬。
养不教,父之过。教不严,师之惰。

子不学,非所宜。幼不学,老何为。
玉不琢,不成器。人不学,不知义。
为人子,方少时。亲师友,习礼仪。
香九龄,能温席。孝于亲,所当执。
融四岁,能让梨。弟于长,宜先知。

首孝悌,次见闻。知某数,识某文。
一而十,十而百。百而千,千而万。
三才者,天地人。三光者,日月星。
三纲者,君臣义。父子亲,夫妇顺。
曰春夏,曰秋冬。此四时,运不穷。

曰南北,曰西东。此四方,应乎中。
曰水火,木金土。此五行,本乎数。
十干者,甲至癸。十二支,子至亥。
曰黄道,日所躔。曰赤道,当中权。
赤道下,温暖极。我中华,在东北。

寒燠均,霜露改。右高原,左大海。
曰江河,曰淮济。此四渎,水之纪。
曰岱华,嵩恒衡。此五岳,山之名。
古九州,今改制。称行省,三十五。
曰士农,曰工商。此四民,国之良。

曰仁义,礼智信。此五常,不容紊。
地所生,有草木。此植物,遍水陆。
有虫鱼,有鸟兽。此动物,能飞走。
稻粱菽,麦黍稷。此六谷,人所食。
马牛羊,鸡犬豕。此六畜,人所饲。

曰喜怒,曰哀惧。爱恶欲,七情具。
青赤黄,及黑白。此五色,目所识。
酸苦甘,及辛咸。此五味,口所含。
膻焦香,及腥朽。此五臭,鼻所嗅。
匏土革,木石金。丝与竹,乃八音。

曰平上,曰去入。此四声,宜调协。
高曾祖,父而身。身而子,子而孙。
自子孙,至玄曾。乃九族,人之伦。
父子恩,夫妇从。兄则友,弟则恭。
长幼序,友与朋。君则敬,臣则忠。

此十义,人所同。当顺叙,勿违背。
斩齐衰,大小功。至缌麻,五服终。
礼乐射,御书数。古六艺,今不具。
惟书学,人共遵。既识字,讲说文。
有古文,大小篆。隶草继,不可乱。

若广学,惧其繁。但略说,能知原。
凡训蒙,须讲究。详训诂,明句读。
为学者,必有初。小学终,至四书。
论语者,二十篇。群弟子,记善言。
孟子者,七篇止。讲道德,说仁义。

作中庸,子思笔。中不偏,庸不易。
作大学,乃曾子。自修齐,至平治。
孝经通,四书熟。如六经,始可读。
诗书易,礼春秋。号六经,当讲求。
有连山,有归藏。有周易,三易详。

有典谟,有训诰。有誓命,书之奥。
我周公,作周礼。著六官,存治体。
大小戴,注礼记。述圣言,礼乐备。
曰国风,曰雅颂。号四诗,当讽咏。
诗既亡,春秋作。寓褒贬,别善恶。

三传者,有公羊。有左氏,有谷梁。
古圣著,先贤传,注疏备,十三经。
左传外,有国语,合群经,数十五。
注疏备,十三经,惟“大戴”,疏未成。
经既明,方读子。撮其要,记其事。

五子者,有荀扬。文中子,及老庄。
经子通,读诸史。考世系,知始终。
自羲农,至黄帝。号三皇,居上世。
唐有虞,号二帝。相揖逊,称盛世。
夏有禹,商有汤。周文武,称三王。

夏传子,家天下。四百载,迁夏社。
汤伐夏,国号商。六百载,至纣亡。
周武王,始诛纣。八百载,最长久。
周辙东,王纲坠。逞干戈,尚游说。
始春秋,终战国。五霸强,七雄出。

嬴秦氏,始兼并。传二世,楚汉争。
高祖兴,汉业建。至孝平,王莽篡。
光武兴,为东汉。四百年,终于献。
魏蜀吴,争汉鼎。号三国,迄两晋。
宋齐继,梁陈承。为南朝,都金陵。

北元魏,分东西。宇文周,与高齐。
迨至隋,一土宇。不再传,失统绪。
唐高祖,起义师。除隋乱,创国基。
二十传,三百载。梁灭之,国乃改。
梁唐晋,及汉周。称五代,皆有由。

炎宋兴,受周禅。十八传,南北混。
辽与金,皆称帝。元灭金,绝宋世。
舆图广,超前代。九十年,国祚废。
太祖兴,国大明。号洪武,都金陵。
迨成祖,迁燕京。十六世,至崇祯。

权阉肆,寇如林。李闯出,神器焚。
清世祖,膺景命。靖四方,克大定。
由康雍,历乾嘉。民安富,治绩夸。
道咸间,变乱起。始英法,扰都鄙。
同光后,宣统弱。传九帝,满清殁。

革命兴,废帝制。立宪法,建民国。
古今史,全在兹。载治乱,知兴衰。
史虽繁,读有次。史记一,汉书二。
后汉三,国志四。兼证经,参通鉴。
读史者,考实录。通古今,若亲目。

口而诵,心而惟。朝于斯,夕于斯。
昔仲尼,师项橐。古圣贤,尚勤学。
赵中令,读鲁论。彼既仕,学且勤。
披蒲编,削竹简。彼无书,且知勉。
头悬梁,锥刺股。彼不教,自勤苦。

如囊萤,如映雪。家虽贫,学不辍。
如负薪,如挂角。身虽劳,犹苦卓。
苏老泉,二十七。始发愤,读书籍。
彼既老,犹悔迟。尔小生,宜早思。
若梁灏,八十二。对大廷,魁多士。

彼既成,众称异。尔小生,宜立志。
莹八岁,能咏诗。泌七岁,能赋棋。
彼颖悟,人称奇。尔幼学,当效之。
蔡文姬,能辩琴。谢道韫,能咏吟。
彼女子,且聪敏。尔男子,当自警。

唐刘晏,方七岁。举神童,作正字。
晏虽幼,身已仕。有为者,亦若是。
犬守夜,鸡司晨。苟不学,曷为人。
蚕吐丝,蜂酿蜜。人不学,不如物。
幼而学,壮而行。上致君,下泽民。

扬名声,显父母。光于前,裕于后。
人遗子,金满籯。我教子,唯一经。
勤有功,戏无益。戒之哉,宜勉力。